วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556

รูปงาน เขียนโปรแกรม ชื่อ ชั้น เลขที่ คำคม

http://img854.imageshack.us/img854/6647/capture20130108202719.png

รหัสควบคุมรูปแบบ(format code)


รหัสควบคุมในภาษา C
     
             รหัสควบคุมรูปแบบ (format code) ใช้สำหรับควบคุมการแสดงผลตัวแปรหรือนิพจน์ออกทางจอภาพโดยรหัสควบคุมรูปแบบในภาษาซีมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน การเลือกนำไปใช้งานต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับค่าของข้อมูลที่ต้องการแสดงผล ดังแสดงในตาราง

รหัสควบคุมรูปแบบ
ความหมาย
%d
สำหรับการแสดงผลตัวเลขจำนวนเต็ม (int, short)
%ld
สำหรับการแสดงผลตัวเลขจำนวนเต็มแบบยาว (unsigned, long, unsigned long)
%u
สำหรับการแสดงผลตัวเลขจำนวนเต็มบวก (unsigned short, unsigned long)
%o
สำหรับการแสดงผลออกมาในรูปของเลขฐานแปด
%x
สำหรับการสแดงผลออกมาในรูปของเลขฐานสิบหก
%f
สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยม (float, double, long double)
%e
สำหรับการแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในรูปแบบของ e หรือ ยกกำลัง (float, double, long double)
%c
สำหรับการแสดงผลอักขระ 1 ตัว (char)
%s
สำหรับการแสดงผลข้อความ ( อักขระมากกว่า 1 ตัว)
%p
สำหรับการแสดงผลตัวชี้ตำแหน่ง (pointer)

คำสงวน (Reserved Word)


คำสงวน (Reserved  Word)
         
                  เป็นคำเฉพาะที่ภาษาปาสคาลได้สร้างหรือกำหนดขึ้นมา  เพื่อใช้ในตัวภาษาโดยเฉพาะ  ซึ่งผู้เขียน

โปรแกรมไม่สามารถนำไปใช้เป็นชื่อ (Indentifiers) ได้เช่น  ไม่สามาถนำไปใช้เป็นดตัวแปร (Variables) หรือ

ชื่อโปรแกรมได้ เป็นต้น  ในภาษาปาสคาล  ถ้าเป็นคำสงวน (Reserved  Word) มักนิยมเขียนด้วยตัวอักษรตัว

ใหญ่  เพื่อให้มีความแตกต่างจากชื่อ (Indentifiers) ตัวอื่น ๆ (แต่การเขียนด้วยตัวเล็กก็สามารถเขียนได้โดยไม่

ถือว่าผิดกฏเกณฑ์)



ตัวอย่างของคำสงวน  เช่น

        AND             END             NIL               SET          ARRAY       FILE

     NOT           THEN            BEGIN         FOR             OF                TO            CASE   

        FUNCTION        OR              TYPE        CONST       GOTO         PACKED    UNTIL      DIV                

IF              PROCEDURE       VAR           DO              IN              PROGRAM     WHILE   

     DOWNTO          LABEL           RECORD         WITH        ELSE            MOD             REPEAT